top of page

Featuring perspectives from students attending the Community Voices | Cultural Heritage Management Field School, this blog will attempt to document thoughts, feelings, learning points and experiences throughout their time here in Songkhla Old Town.

เรื่องราวในมุมมองของ นักศึกษา ในการเข้าร่วมรับฟังเสียงจากชุมชน |โครงการลงพื้นที่ การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม. บล็อคนี้จัดทำเพื่อแสดงให้เห็นถึง ความคิด ความรู้สึก การเรียนรู้ ประสบการณ์ ตลอดเวลาในเมืองเก่าสงขลา

Hey There!

Between The Devil And The Deep Blue Sea | ระหว่างปีศาจและทะเลสีฟ้าลึก

Initially puzzled and even frustrated about the way urban and site analyses were done, I was intrigued by the idea of community mapping where it seemed (at first) to me like the most representative way of describing the ‘character’ of a street or place. With information coming from the community themselves, I hoped that this relatively new idea would help to remove the privileged, biased and even alien way of looking at an area and was super excited to see what it was really like.

We started with brief walks around the area, interviewing residents in the hope of gaining insight into their lives, and daily rituals. Of course the objective was to eventually represent the information collected in a way that anyone can understand at a glance (just like most mapping assignments) however the method this time was vastly different; this time, we were giving the people a voice.

One of the products of the field school was going to be a video.

The process required us to carry out a conversation with the people in the hopes of understanding the things that mattered to them. Even though we did not speak the language and were completely out of place in this little town, questions like “where do you see yourself and Songkhla in 10 years”, “how has life changed?” and “what is the most precious to you in Songkhla?” slowly allowed us to start conversations that not only uncovered their daily rituals but also made them comfortable enough to share their hopes, dreams and aspirations for Songkhla and beyond.

Suddenly, a simple recording excercise became that much graver.

Film, due to its sense of realism and ability to transcend time and space, is a powerful medium in which the viewer is transported to the moment which the footage was recorded and depending on how the raw footage was used can have a multitude of effects.

So when the time came for us to make sense of everything that we’ve done and form a some sort narrative to describe the character of the street, I became a little uneasy and began ponder about our role here in Songkhla and what were we trying to do? I mean hey! We are talking about the people who (even though we barely spoke a word to them) offered us cakes and drinks and even trusted us enough to have their hopes and fears recorded on camera.

Were we trying to be the voice of the people? Using our knowledge and reach to better represent them and tell their stories? Or are we just using them to tell our stories; neatly categorizing their hopes, fears and dreams into Economic, Social, Environmental and Cultural “assets and issues” so that we can come up with tangible proposals and interventions.

Yes I do know that we have to start from somewhere and yes as architects and planners we cannot possibly be catering to every need and want but some if not most of these things cannot be so easily categorized and placed neatly into containers to take out and look whenever you need to use them. Oftentimes the things that matter are overlapping and intricately interwoven and stories powerful, provocative and personal, when told through film can and should be used to depict the rich fabric of society; and heck even life itself! So why then use a tool like video which has the ability convey mood, atmosphere, tone and all sorts of things to do the same as diagrams and maps with neat labels and legends to relay such complex information? Would’nt it be a way that is truer to the idea of community mapping?

That being said, I do recognize that ultimately, complete neutrality is not possible as framing, editing, contexts and circumstance in which the filming took place, how the film is presented etc… all contain elements in which the biases of the film maker can and will be found. Thus maybe rendering the question above to be difficult even irrelevant. Afterall, I’m only just a student starry eyed and still sheltered from the things of the real world (time, cost, feasibility etc…). Alas, a man can dream right?

Finally I shall leave you with a thought: do we then want to be enablers and allow the people to tell their own stories or should we be narrators and tell their story for them?

*The title of this post is an English idiom to mean having to decide between two choices that are both equally unpleasant or not convenient.

ปัญหาในเบื้องต้นทำให้คุ่นคิด และเกิดความสับสน เกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ชุมชนและพื้นที่ที่เกิดขึ้น ผมรู้สึกทึ่งกับความคิดของการทำแผนที่ของชุมชนที่ วิธีที่ผมชอบมากที่สุดคือการอธิบายตัวตนของถนนหรือสถานที่นั้น โดยข้อมูลที่มาจากตัวของชุมชนเอง ผมคาดหวังว่าเรื่องนี้เป็นความคิดที่ค่อนข้างใหม่ ที่จะช่วยลบข้อได้เปรียบ ความลำเอียง และแม้กระทั่งคนต่างถิ่นในด้านการมองพื้นที่นี้ และความตื่นเต้นที่จะเห็นว่าพื้นที่นี้เป็นเช่นไร

พวกเราเริ่มต้นด้วยการเดินเล่น รอบๆบริเวณผู้อาศัยที่เราสัมภาษณ์ ซึ่งหวังว่าพวกเราจะมีความเข้าใจในชีวิตของพวกเขาและวิถีในชีวิตประจำวัน แน่นอน วัตถุประสงค์เพื่อในที่สุดเพื่อเป็นตัวแทนข้อมูลที่เก็บรวบรวมในหนทางที่ทุกคนสามารถทำความเข้าใจได้ง่าย (เช่นเดียวกันกับการที่ได้รับมอบหมายทำแผนที่) ถึงอย่างไรก็ตามวิธีการในครั้งนี้มีความแตกต่างกันอย่างมากมาย

หนึ่งในผลงานของโครงการนี้ผ่านทางวิดีโอ

กระบวนการที่จำเป็นที่เราจะดำเนินการให้เสร็จสิ้นคือ การสนทนากับผู้คนท ความหวังของการทำความเข้าใจถึงสิ่งที่สำคัญกับพวกเขา แม้ว่าเราจะไม่ได้พูดภาษาอย่างถูกต้อง และอาจมีความไม่เหมาะสมไปบ้าง ในเมืองเล็ก ๆ นี้ คำถามเช่น “ตัวคุณและเมืองสงขลาจะเป็นอย่างไรใน 10 ปีข้างหน้า ” “ชีวิตคุณจะเปลี่ยนไปอย่างไร” และ “สิ่งที่เป็นที่มีค่าที่สุดกับคุณ ในจังหวัดสงขลา คืออะไร” คำถามเหล่านี้ สามารถทำให้พวกเขาค่อย ๆ เปิดใจให้เราสามารถเริ่มต้นการสนทนาที่ไม่ใช่แค่วิถีในชีวิตประจำวันของพวกเขา แต่ยังทำให้พวกเขาสบายพอที่จะแบ่งปันความหวังของพวกเขา, ความฝันและแรงบันดาลใจสำหรับสงขลา

จากนั้น การสอบถามเบาๆ ก็กลายเป็นคำถามหนักขึ้น

ว่าภาพยนตร์จะเหมาะกับความรู้สึก ความเป็นธรรมชาติ การแข่งขันกับเวลาและเป็นสื่อกลางที่ถ่ายทอดให้ผู้ชมซึ่งจะถูกถ่ายทอดต่อไปในภายหลัง การนำมาใช้ และผลที่จะเกิดขึ้นอย่างไร

เมื่อเวลานั้นของเรามาถึง มันทำให้เรารู้ทุกอย่างที่เราเคยทำ รูปแบบ การเล่าเรื่องที่จะอธิบายตัวตนของเมืองเก่า เราจึงรู้สึกคิดหนัก และเริ่มไตร่ตรองตัวเรา ว่าพวกเรามาทำอะไรที่นี่? ผมหมายถึง เฮ้! พวกเรากำลังพูดถึงผู้คน (แม้ว่าเราแทบจะไม่ได้พูดคุยกับพวกเขาเลยก็ตาม) ผู้ที่มอบเค้กและเครื่องดื่มให้ และแม้กระทั่งความไว้วางใจ ก็เพียงพอให้เราได้เริ่มพูดคุยและไม่เกร็งเขินต่อกัน

เราพยายามที่จะเป็นเสียงของประชาชน ใช้ความรู้ของเรา และบอกเรื่องราวของพวกเขา หรือว่าเราเป็น เพียงแค่ การให้พวกเขาบอกเล่าเรื่องราว ของเรา ความหวังของพวกเขา ความกลัวและความฝัน เศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อมและ วัฒนธรรม " สินทรัพย์ และปัญหา " เพื่อให้เราสามารถ เกิดข้อเสนอ และการยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ

เราทราบว่าเรา จะต้องเริ่มต้นจากที่ไหน จากสถาปนิก นักวางแผนที่ เราไม่อาจจะรวบรวมทุกความต้องการ บางอย่างก็ไม่ได้มาโดยง่ายเสมอไป แล้วนำไปจัดเก็บอย่างเรียบร้อย เผื่อเมื่อใดก็ตามที่คุณอยากใช้มัน บ่อยครั้งสิ่งที่สำคัญมีการเก็บอย่างประณีต เรื่องราวที่มีความสมบูรณ์ เมือเล่าเรื่องราวผ่านฟิล์ม สามารถนำมาใช้เพื่อแสดงเรื่องราวสังคม แม้กระทั่ง ของมันเอง แล้วทำไม่เราใช้เครื่องมือ เช่น วิดีโอ ที่สามารถใน การถ่ายทอด อารมณ์ บรรยากาศ และแผนผังแสดงเรื่องราวแผนผังที่มีป้ายชื่อ ประวัติ การถ่ายทอด เป็นศูนย์รวมของข้อมูล ว่าสามารถเป็นหนทางของการทำแผนชุมชน ได้หรือไม่

นั้นเป็นสิ่งแรกที่เรารู้ว่ารู้ถึงความสำเร็จ ความสมบูรณ์ความ เป็นไปไม่ได้ การแก้ไข บริบท และสภาพแวดล้อม สถานที่ถ่ายทำ ภาพยนตร์เรื่องนี้ จะนำเสนอ เรื่องราวทั้งหมด มีองค์ประกอบที่ทำให้เกิดคติต่อของผู้จัดทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ดังนั้น อาจจะมี การแสดงผล คำถาม จะเป็นเรื่องยากยิ่ง

อนิจจา ทุกคนสามารถฝันได้ จริงมั้ย?

สุดท้ายนี้ผมอยากฝากความคิด : เราต้องเปิดใจและยอมให้ผู้คนบอกเล่าเรื่องราวของเขา หรือเราควรจะเล่าเรื่องและบอกเล่าเรื่องราวของพวกเอง?

*ชื่อของโพสนี้เป็นสำนวนภาษาอังกฤษมีความหมายสองทางทั้งแง่ดีและไม่พึงประสงค์

Friendly stall owner
bottom of page