top of page

Featuring perspectives from students attending the Community Voices | Cultural Heritage Management Field School, this blog will attempt to document thoughts, feelings, learning points and experiences throughout their time here in Songkhla Old Town.

เรื่องราวในมุมมองของ นักศึกษา ในการเข้าร่วมรับฟังเสียงจากชุมชน |โครงการลงพื้นที่ การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม. บล็อคนี้จัดทำเพื่อแสดงให้เห็นถึง ความคิด ความรู้สึก การเรียนรู้ ประสบการณ์ ตลอดเวลาในเมืองเก่าสงขลา

Hey There!

Homogenizing Street Art | ศิลปะริมทางที่สอดคล้องกัน

I am currently in Songkhla with my twenty-nine architecture students from Malaysian, Singaporean and Thai Universities. During the last ten days,we have all been residing and working in Songkhla Old Town (as part of a Culture Heritage Management Field School organised by National University of Singapore) to explore the relationship between the old town spaces and its users. Yesterday, while working with my students at Hub Hoe Hin, I had a chance to attend (to some extent as I do not understand Thai) the so called “public participatory” meeting of involving selected locals, local authority officials (including the Mayor) and the design team from Bangkok (Magic Eye, not sure if they are related to Magic Eye 3D museum in George Town, Malaysia) to discuss twenty new street art designs on the walls of various structures in the old town area.

I was surprised to see that most of the proposed designs did not reflect the true spirit of the old town and its people but rather was designed only to provide photographic opportunities for tourists. It is sad to see how some of the historic old towns in the Southeast Asia such as George Town, Ipoh, Songkhla and Phuket are being influenced by each other; painting their historic structures with incompatible art. I hope that the people responsible would reconsider the new street art project in Songkhla Old Town. To make it a successful public participatory project, the locals (including children and women) should be involved in the design of the new street art as well rather than being only presented with the final design -done in Bangkok- on a working day when most of the locals are busy with their businesses. For example, school students could be asked to submit their design ideas based on ‘what they like about their own town’, older generations can also participate by submitting artwork regarding their ‘old memories of Songkhla.’ After the shortlisting of design ideas the local artists could then work with professionals from Bangkok to convert their design ideas into something that can be drawn on walls of the old town. The public participation since the inception would empower the locals and reduce the time and money wasted in completely re-doing design several times.

ผมอยู่ในจังหวัดสงขลากับนักเรียนสถาปัตยกรรม 29 คน จากมหาวิทยาลัยประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงคโปร์ และประเทศไทย ในช่วงสิบวันที่ผ่านมาเราได้พำนักและทำงานอยู่ในเมืองเก่าสงขลา (การทำงานครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ภาคสนามการจัดการมรดกวัฒนธรรม จัดโดยมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์) โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่เมืองเก่าและผู้ใช้พื้นที่. เมื่อวานนี้ขณะที่พวกเรากำลังทำงานกันที่โรงสีแดง (หับ โห้ หิ้น) ผมได้มีโอกาสเข้าร่วมสังเกตการณ์ (ซึ่งผมไม่อาจเข้าใจได้ในบางเนื้อหาที่เป็นภาษาไทย) การจัดทำ “ประชาพิจารณ์” เวทีดังกล่าวมีจำนวนชาวบ้านที่อาศัยในชุมชนเข้าร่วมไม่มากนัก ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นเจ้าหน้าที่จากเทศบาล นายกเทศมนตรี และบริษัทผู้ออกแบบจากกรุงเทพฯ (ผมไม่แน่ใจว่างานศิลปะนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับพิพิธภัณฑ์ภาพวาด 3 มิติ ในจอร์จทาวน์, มาเลเซีย) เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับงานศิลปะที่จะสร้างสรรค์ผลงานบนผนังและโครงสร้างในพื้นที่เมืองเก่าสงขลาจำนวน 20 ชิ้น ไ

ผมรู้สึกประหลาดใจที่เห็นว่างานออกแบบส่วนใหญ่ไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงจิตวิญญาณที่แท้จริงของเมืองเก่าและผู้คน เพียงแต่ต้องการให้เป็นสถานที่ถ่ายรูปของนักท่องเที่ยวเท่านั้น มันจึงเป็นเรื่องน่าเศร้าที่จะเห็นบางส่วนของเมืองเก่าใน

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น จอร์จทาวน์ อิโปห์ สงขลาและภูเก็ต จะได้รับอิทธิพลการทาสีบนผนังโครงสร้างทางประวัติศาสตร์ ผมหวังว่า ผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบจะคิดใหม่เกี่ยวกับโครงการถนนศิลปะแห่งใหม่ในเมืองเก่าสงขลา. ความสำเร็จของโครงการการมีส่วนร่วมการจัดทำถนนศิลปะ ชาวบ้านและชุมชน (รวมทั้งเด็กและผู้หญิง) ควรมีส่วนร่วมในการออกแบบงานศิลปะมากกว่าที่จะได้รับรู้เพียงการนำเสนอการออกแบบขั้นสุดท้ายที่เป็นการออกแบบจากกรุงเทพฯ ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนอาจขอให้นักเรียนส่งแนวคิดการออกแบบเกี่ยวกับเมืองของตัวเองที่พวกเขาต้องการ สำหรับผู้สูงอายุสามารถมีส่วนร่วมโดยการส่งงานศิลปะที่เกี่ยวกับ “ความทรงจำเมืองเก่าสงขลา”.หลังจากการคัดเลือกแนวคิดการออกแบบของศิลปินท้องถิ่นแล้ว ผู้เชี่ยวชาญจากกรุงเทพฯสามารถนำความคิดดังกล่าวไปดัดแปลงให้เหมาะสม งานศิลปะที่วาดบนผนังเมืองเก่าที่ผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่เริ่มต้นของชาวบ้านในชุมชนจะช่วยลดเวลาและการเสียเงินในการแก้ไขและออกแบบใหม่หลายต่อหลายครั้ง

Proposed mural of a truck that was never used in Songkhla

Interacting with members of the community.

Voting slip.

Presentation to members of the community

Proposed Sculpture on Hub Ho Hin


bottom of page